แต่เมื่อกลุ่มตาลีบันได้เริ่มขึ้นสู่อำนาจในการปกครองประเทศช่วงเดือนสิงหาคมที่ผ่านมาลมได้เปลี่ยนทิศ รัฐบาลตาลีบันมีจุดยืนในการสนับสนุน “เด็กผู้ชาย” ทางด้านการกีฬา ทำให้เกิดการตั้งคำถามว่า “ผู้หญิงจะยังมีโอกาสในการกีฬาต่อสู้อีกหรือไม่?”
southasiainsight
Harnaaz Sandhu ตัวแทนจากประเทศอินเดียวัย 21 ปี เธอสร้างความภาคภูมิใจให้แก่ประเทศด้วยการคว้ามง 3 มาให้กับอินเดียในฐานะ มิสยูนิเวิร์ส ประจำปี 2021 น่าจับตามองว่าในประเทศอนุรักษ์นิยมนางงามผู้คว้าตำแหน่งกลับได้รับ “เกียรติ”และ ความ “เคารพ” เทียบเท่านักกีฬาคริกเก็ตชาย เพราะเหตุใด
The Walls of Delhi ทำให้ผู้อ่านรู้สึกหนาวสั่นผ่านการร้อยเรื่องของนักเขียน ที่มีความสมจริง น่าสยดสยอง เสียดสี นักเขียนพาตัวเองเข้าไปมีส่วนร่วมกับผู้อ่านในเสียงในเรื่องเล่า เชื่อมโยงข้อเท็จจริง ปัญหาของคนธรรมดาทั่วไป ว่าถูกกระทำ ถูกท้าทาย และตั้งคำถามต่อความยุติธรรม สะท้อนความทันสมัยของเมืองที่เป็นโลกคู่ขนานกับอีกหลายชีวิตในอินเดีย
“อหลยา” นางบาปในเกร็ดเรื่องของรามยณะ ถูกนำโครงเรื่องตำนานมาเล่าใหม่ในรูปแบบภาพยนตร์ิ โดยสุชัย โฆษ ผ่านมุมมองแบบสตรีนิยมพยายามที่จะเชิญชวนให้ผู้ชมมองเธอและเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นกับเธอในมุมใหม่
หนังสือ “GANDHI AND CHURCHILL: THE EPIC RIVALRY THAT DESTROYED AN EMPIRE AND FORGED OUR AGE” ได้นำเสนอสาระสำคัญมากมาย มี 2 ประเด็นที่น่าสนใจ คือ (1) ความขัดแย้งสำคัญระหว่างคานธีกับเชอร์ชิลเป็นเรื่องศาสนา และ (2) เราไม่อาจเข้าใจชีวิตการเมืองของเชอร์ชิลได้ หากไม่เข้าใจอิทธิพลของคานธีที่มีต่อเขา
ชาวอินเดียคนหนึ่งเคยบอกผมว่า “เวลาเดินทางในอินเดีย ทุก ๆ 20 กิโลเมตร รสชาติซาโมซาจะเปลี่ยนไป” คำพูดนี้ก็พรรณนาความหลากหลายของอินเดียได้อย่างมีสีสันยิ่ง ดังนั้นอินเดียตอนเหนือจึงไม่เท่ากับอินเดียทั้งหมด หนังสือเล่มนี้จะช่วยทำให้เราเข้าใจว่าอินเดียตอนใต้นั้นมีเอกลักษณ์เฉพาะและแตกต่างจากอินเดียตอนเหนืออย่างไร
Tara Books สำนักพิมพ์อิสระในเมืองเชนไน มีเอกลักษณ์จากกระบวนการผลิตหนังสือแบบงานหัตถศิลป์ หนังสือทุกเล่มทุกปกที่นำออกวางจำหน่ายใทำหน้าที่เป็นสื่อกลางและเครื่องมือที่สร้างระบบนิเวศที่ยั่งยืนให้กับ “ช่างฝีมือหนังสือ” ได้อย่างดี
“The Honourable Company: A History of the English East India Company” เขียนโดย จอห์น คีย์ (John Keay) สารัตถะของหนังสือเล่มนี้คือประวัติศาสตร์ของบริษัทอินเดียตะวันออกเล่มแรกๆ ที่ให้รายละเอียดค่อนข้างมาก และชวนเรามองบริษัทฯ แตกต่างจากเล่มอื่น
คิปลิงเขียนวรรณกรรมประเภทต่าง ๆ ไว้มากพอสมควร ไม่ว่าจะเป็นเรื่องสั้น กวีนิพนธ์ หรือนวนิยาย ด้านการเขียนนั้นนับว่าคิปลิงเป็นนักเขียนที่มีฝีมือดีที่สุดคนหนึ่งเลยก็ว่าได้ ไม่น่าแปลกใจเลยว่าทำไมเขาจึงได้รับรางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมในปี ค.ศ. 1907
สำรวจเนื้อแท้ของอัฟกานิสถานมีหน้าตาอย่างไร? ผ่านเรื่องเล่าวรรณกรรมที่ทรงอิทธิพลเรื่องหนึ่งของยุคสมัย “The Kite Runner” หรือ “เด็กเก็บว่าว”